1 win casino1win aviatormosbetmosbet casinopin-upmostbet aviator login1 winmostbet1 win azpin up casino1winmosbetpin up bettingparimatchlacky jet4era betmostbet casinoparimatchpin up azerbaijanlucky jet casino1win slot4rabet mirror1 win casinoluckyjet1wınmosbetaviator4rabet bangladesh1 winpin up az1win onlinepin up indialucky jetmostbet azmostbetpin up kz1win1win casino1win saytimostbet aviatorlucky jetmostbetmostbet onlinepinup loginpin uppin up1win login4r betmosbet indiamostbet azaviator mostbet

เปรียบเทียบอิฐมวลเบา CLC และ AAC

โดย รศ.ดร.ต่อตระกูล ยมนาค

เปรียบเทียบอิฐมวลเบา CLC และ AAC

อิฐมวลเบา แบ่งตามกระบวนการผลิตได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ บล็อกสีเทาตามสีของซีเมนต์ที่เป็นส่วนผสมสำคัญ มีน้ำหนักเบาโดยการเติมฟองอากาศขนาดเล็กมาก (Cellular Lightweight Concrete:CLC)

และ บล็อกสีขาว ที่มีสีตามยิปซั่มที่เป็นส่วนผสมสำคัญ นอกจาก ซีเมนต์ ปูนขาว และผงอลูมิเนียมที่จะสร้างฟองอากาศขนาดเล็กมากทำให้มีน้ำหนักเบาได้มากกว่า บล็ิอก CLC แล้วมีการอบไอน้ำภายใต้ความดันสูง (Autoclave Aerated Concrete: AAC)

มีข้อแตกต่างกัน ดังนี้ ( ข้อมูลจาก https://อิฐ.com )

อิฐมวลเบาชนิดไม่อบไอน้ำ CLC มีคุณสมบัติความเป็นฉนวน ได้แก่ ฉนวนกันความ ร้อน กันเสียง และกันความชื้น วัตถุดิบในการผลิตประกอบด้วย ปูนซีเมนต์ ทราย น้ำ สารก่อฟองคุณภาพสูง ทำให้เกิดฟองอากาศขนาดเล็กมากที่มีความเสถียรและแทรกตัวอยู่ในเนื้อคอนกรีต ทำให้มีน้ำหนักเบา เนื้อผลิตภัณฑ์มักจะมีสีเทา

ข้อดีคือ อัตราการดูดซึมน้ำต่ำกว่าอิฐมวลเบา AAC จึงลดปัญหาความชื้นและเชื้อรา การก่อสร้างง่ายและรวดเร็ว เนื่องจากใช้ปูนทรายธรรมดาในการก่อฉาบได้ จึงประหยัดค่าก่อสร้างมากกว่า มีความแข็งแรงทนทานต่อการกระแทกหรือการขูดขีดได้ดี สามารถเจาะฝังพุกยึดแขวนอุปกรณ์เครื่องใช้และรูปภาพได้ ขณะเดียวกันยังกันความร้อนได้ดีกว่าอิฐมอญ ช่วยลดค่าไฟฟ้าจากการใช้เครื่องปรับอากาศ

***ทุกเช้าวันจันทร์ พบกับเรื่องราวที่น่าสนใจ เกี่ยวกับการก่อสร้าง ในบทความชุด

“ เปิดสมองมองก่อสร้าง”
ค้นหานำมาเสนอโดย อาจารย์ต่อ